เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
จากโครงงานเรื่องการหาสูตรทั่วไปอย่างง่ายของความสัมพันธ์ของจำนวนรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า มีเอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2.1 ทฤษฎีบททวินาม (BINOMAIAL THEOREM)
ถ้า n เป็นจำนวนเต็มบวก
จากทฤษฎีบทดังกล่าวแสดงว่า เราสามารถกระจาย ( a + b )n ให้อยู่ในรูปผลบวกและสมบัติที่น่าสนใจดังนี้
1. ผลบวกการกระจายต้องมี n + 1 พจน์
2. ผลบวกของเลขชี้กำลังของ a และ b ในแต่ละพจน์ต้องเท่ากับ n เสมอ
3. เลขชี้กำลังของ a จะเริ่มจาก n และลดครั้งละ1 จนกระทั้งเหลือ 0 แต่เลขชี้กำลังของ b
k
5. สัมประสิทธิ์ของพจน์ที่ 1 และพจน์สุดท้ายเท่ากัน สัมประสิทธิ์ของพจน์ที่ 2 และพจน์
สุดท้าย เท่ากัน เป็นเช่นไปเรื่อยๆ
เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริงใดๆ พิจารณาสัมประสิทธิ์ของ ( a + b )n เมื่อ n เป็นจำนวน
นับดังนี้![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEhIToYsysIgbBhly9Zc8Y4mglo3lgzDaQdIbpat8N5fg7bqKGyJBjfT1HPlR2urjkX53l8DS4QXHc2dKja6dHhEJszIQ64X3T3fJeIRqv4BffP57EupPbrjjU3Oah1olI1e6fjTDj634Cpy/s1600/%E0%B8%A0.png)
2.2 ลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic Sequence or Arithmetic Progression) ย่อด้วย A.P หรือ A.S คือล าดับที่มีผลต่างร่วม (common differenceตัวย่อ d ) ระหว่างพจน์ที่n กับ พจน์ที่ n+1 มีค่าคงที่
ขอบคุณข้อมูลจาก :http://www.vcharkarn.com/project/895
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น